side-area-logo
น้ำ ห้องน้ำ

น้ำ ห้องน้ำ 

ห้องน้ำสำหรับผู้สูงอายุควรเลือกกระเบื้องอย่างไร

สาระน่ารู้เกี่ยวกับสร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน ออกแบบบ้าน เรื่องของน้ำ ห้องน้ำ สิ่งสำคัญที่ต้องระวังสำหรับสร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน ออกแบบบ้านทีมีผู้สูงอายุคือการลื่นหกล้มในห้องน้ำ ซึ่งหลายๆครั้งนำมาซึ่งเหตุการณ์ที่น่าเสียใจ สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน ออกแบบบ้านเลือกใช้กระเบื้องพื้นห้องน้ำจึงเป็นเรื่องสำคัญที่กระเบื้องจะต้องไม่ลื่น ยิ่งฝืดยิ่งดีครับ โดยดูปัจจัยประกอบดังนี้

  • อย่าใช้กระเบื้องขนาดใหญ่นัก ร่องยาแนวกระเบื้องจะช่วยให้เกิดแรงเสียดทานได้เป็นอย่างดี ส่วนแผ่นขนาดเล็กๆเลยจะมีแรงเสียดทานดีทีเดียว แต่อาจจะดูไม่ค่อยสะอาด ซึ่งต้องเลือกเอาขนาดที่เหมาะสม
  • ใช้กระเบื้องที่เป็นกระเบื้องพื้น และเลือกรุ่นที่ผิวหยาบๆเข้าไว้ บางรุ่นมีเล่นลายเพิ่มแรงเสียดทานยิ่งดี

สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน ออกแบบบ้านสำหรับห้องน้ำที่ไม่มีผู้สูงอายุใช้ ก็ควรระวังเรื่องกระเบื้องลื่นเหมือนกัน เพียงแต่ซีเรียสน้อยกว่า

ปูพื้นกระเบื้องแบบอยู่ได้ ท น . . น ทาน น า น . . น ปี

สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน ออกแบบบ้านเรื่องกระเบื้องนั้นยึดกับผิวปูนเดิมโดยปูนปูกระเบื้อง เพราะฉะนั้น ความทนทานของพื้นจึงขึ้นอยู่กับ

 

  • สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน ออกแบบบ้านสำหรับ ปูนปูกระเบื้องยึดเกาะกับปูนเก่าได้ดี — ดังนั้น ก่อนปูควรสะกัดผิวปูนเดิมให้หยาบเพิ่มพื้นที่ยึดเกาะ แล้วล้างผิวปูนให้สะอาด ขณะทำการปู ให้ราดน้ำให้ผิวปูนเดิมอยู่ในสภาพเปียกชื้น ไม่แห้งไม่เปียก ปูนจะยึดเกาะกับผิวปูนเดิมได้ดี
  • สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน ออกแบบบ้านสำหรับ เนื้อปูนปูกระเบื้องแน่น ในตอนปูจะต้องไม่มีโพรงอากาศค้างอยู่ใต้แผ่นกระเบื้อง โดยช่างจะต้องไล่เคาะจนโพรงอากาศหนีออกมาจนหมด การตรวจสอบทำได้โดยใช้ไม้ท่อนเล็กๆเคาะบนแผ่นกระเบื้อง(หลังจากปูเสร็จ ปูนแห้งแล้ว) หากพบว่ามีเสียงกลวงภายใน ควรรื้อซ่อม (บริเวณที่มีโพรงอากาศภายในมากอาจจะทำให้กระเบื้องล่อน แตกร้าวได้ง่าย หรือเกิดคราบสกปรกได้) เทคนิคประการหนึ่งคือการใช้น้ำยากันซึมผสมในเนื้อปูนจะช่วยลดฟองอากาศและทำให้เคาะง่ายขึ้นครับ ปูนปูกระเบื้องควรใช้ปูนเสือผสมทราย หรือ อย่างดีใช้ปูนกาวสำหรับปูกระเบื้องผสมทรายครับ
  • สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน ออกแบบบ้านสำหรับ เนื้อปูนปูกระเบื้องยึดเกาะกับผิวกระเบื้องได้ดี ธรรมชาติของเนื้อกระเบื้องจะดูดซับน้ำได้ดี ก่อนทำการปู จึงต้องแช่น้ำให้กระเบื้องดูดน้ำจนอิ่มตัว และนำขึ้นจากน้ำทิ้งไว้สักระยะให้ผิวไม่เปียกเกินไป (ชื้นๆ) เมื่อนำกระเบื้องมาปูจะไม่ดูดน้ำอีก เพราะหากกระเบื้องดูดน้ำในปูนเข้าไปจะทำให้ปูนปูกระเบื้องไม่ยึดเกาะกับตัวกระเบื้อง ยกเว้นกระเบื้องบางรุ่นมีการเคลือบผิวกันการดูดซับน้ำมาจากโรงงานแล้วไม่ต้องแช่น้ำ

การปูกระเบื้องผนังก็ใช้หลักการเดียวกันกับการปูกระเบื้องพื้นครับ มีข้อพิจารณาเพิ่มเติมดังนี้

 

  • การปูกระเบื้องบนผนังก่อที่ยังไม่ฉาบ สามารถเตรียมผิวปูนฉาบให้มีความหยาบไว้ก่อนโดยใช้ปูนทรายเหมือนการฉาบปูนปรับระดับรอบแรก แล้ว ตามด้วยการปูกระเบื้องผนังเหมือนข้อสอง สำหรับผนังที่ก่อดีมาก ได้แนวอยู่แล้ว อาจข้ามขั้นเป็นข้อสองเลยก็ได้ครับ
  • หากปูกับผนังฉาบแล้วต้องสกัดผิวหยาบเช่นกันครับ การปูใช้ปูนเสือหรือปูนกาวสำหรับปูกระเบื้อง ไม่ต้องผสมทราย ใช้ปูนทาเป็นกาวบางๆ ไม่ถึงครึ่งเซนติเมตร
  • กรณีปูกับผนังที่ทาสีไว้แล้วต้องขัดสีออกจนถึงเนื้อปูนก่อน แล้วทำเหมือนข้อสอง
  • ผิวปูนเดิมต้องอยู่ในสภาพเปียกชื้นเช่นกันครับ โดยเฉพาะอิฐมอญจะดูดน้ำได้มากต้องมีการพรมน้ำให้ชื้นอยู่เสมอครับ

อาจจะไม่ต้องตามนี้เป๊ะๆ แล้วแต่ความเหมาะสมของแต่ละสถานการณ์ครับ

เลือกสีกระเบื้องแบบคนขี้เกียจดูแลบ้าน

เมื่อปูกระเบื้องเสร็จแล้วในขณะที่ใช้งานรอยยาแนวย่อมเลอะดูคล้ำลงเป็นธรรมดา โดยเฉพาะกระเบื้องพื้น การที่ต้องมาทำความสะอาดหรือคอยดูแลอยู่เสมออาจจะไม่ใช่เรื่องน่าสนุกนัก การเลือกกระเบื้องพื้นสีออกเข้มๆ และใช้ยาแนวสีออกคล้ำๆหน่อย จะช่วยพรางตา เมื่อมีคราบสกปรกให้ดูไม่เด่นชัดเกินไป แต่อย่างไรก็ต้องมีการล้างบ้างตามสมควรนะครับ ^ v ^

ยาแนวพื้นกระเบื้อง มียางเหนียวๆปูดขึ้นมา อัศจรรย์แท้ สาเหตุเกิดจากมีโพรงช่องว่างอยู่ใต้แผ่นกระเบื้อง (ซึ่งก็เกิดจากการปูกระเบื้องได้ไม่แน่นนั่นเอง) ทำให้มีการหมักหมมสิ่งสกปรกจนเกิดเป็นยางเหนียวๆออกมา การแก้ไขต้องเลาะพื้นกระเบื้องแล้วปูใหม่โดยโปะปูนให้เต็มส่วนที่เป็นโพรงอยู่ให้แน่น ซึ่งหากไม่มีแผ่นกระเบื้องสำรองไว้ต้องทำอย่างใช้ความระมัดระวังมากทีเดียวครับ

ห้องน้ำมีกลิ่นจากท่อระบายน้ำ ทำไงดี

สาเหตุที่เป็นไปได้คือ

 

  • ไม่มีแทรปดักกลิ่น และ floor drain แบบมีดักกลิ่น ตัวดักกลิ่นมีสองแบบคือ floor drain แบบมีดักกลิ่น ซึ่งคุณสามารถตรวจ สอบได้ที่พื้นห้องน้ำเลย กับแบบที่สองเป็น U trap ต่อกับท่อระบายน้ำใต้ห้องน้ำ
  • มีดักกลิ่นแต่ถ้าไม่มีน้ำไหลทิ้ง หลายๆวันน้ำในตัวดักกลิ่นจะแห้ง กลิ่นจะเข้ามาได้ (ตัวดักกลิ่นจะอาศัยน้ำในการกันกลิ่น) ถ้าเป็นอย่างนี้ต้องคอยเอาน้ำ ราดลงไปสักสองสามขันให้มีน้ำขังในตัวดักกลิ่นอยู่เสมอ ถ้าไม่ได้ใช้งานเลยจะหาอะไรมาอุดทับไว้ก็ได้ครับ

การตรวจเช็คหาสาเหตุลองลองเอาน้ำราด แล้วทิ้งไว้หลายๆชั่วโมงดูว่า ยังมีกลิ่นหรือไม่ ถ้ายังมีกลิ่นอยู่ก็คงจะไม่มีอุปกรณ์กันกลิ่น ซึ่งสำหรับ ห้องน้ำชั้นสองจะตรวจเช็คได้โดยเปิดฝ้าเพดานของชั้นล่างออกมาดู แต่ ห้องน้ำชั้น 1 เราไม่สามารถดูได้ว่ามีดับกลิ่นแบบ U trap หรือเปล่า ก็ให้ ช่างมาติด floor drain กันกลิ่นครับ หากมีตัวดักกลิ่นแล้วยังมีกลิ่นอยู่คงต้องเช็คท่อลมระบายอากาศของบ่อเกรอะหรือถังบำบัดดูครับ

ท่อน้ำมีหลายคลาส เลือกใช้แบบให้ทนและไม่แพง ตัวเลขคลาสที่สูงหมายถึงความสามารถของท่อที่จะรับแรงดันได้มากกว่า และราคาสูงกว่า โดยหลักการการเลือกใช้จึงต้องให้เหมาะสมกับสภาพที่ต้องการใช้งาน แต่สำหรับงานท่อประปา-น้ำทิ้งภายในบ้านทั่วๆไปเรามีวิธีการเลือกใช้แบบง่ายๆ คือ ใช้คลาส 8.5 สำหรับท่อน้ำดี และ คลาส 5 สำหรับน้ำทิ้ง ส่วนอาคารขนาดใหญ่หรือสูงเกิน 3 ชั้นควรมีการออกแบบโดยวิศวกรสุขาภิบาลเพื่อความทนทานและประหยัดของระบบท่อครับ

ปั้มน้ำต้องล่อน้ำบ่อยมาก ตรวจสอบอย่างไร

ปั๊มน้ำที่เราใช้กันส่วนมากจะเป็นแบบ Centrifugal หรือที่ชาวบ้านเรียกกันง่ายๆว่า ปั๊มหอยโข่ง นั่นเอง ซึ่งอาจจะเป็นปั๊มเดี่ยวๆปั๊มน้ำขึ้นไปเก็บในบ่อพักด้านบน หรือแบบมีหม้อลมในตัว ปั๊มชนิดนี้ถ้ามีอากาศรั่วเข้ามาในตัวปั๊มมากๆจะทำงานไม่ได้ ต้องทำการเติมน้ำให้เต็มตัวปั๊ม เรียกว่า “ล่อน้ำ” หรือ priming ใหม่ หากเกิดอาการเช่นนี้บ่อยๆแสดงว่าระบบท่อทางดูดน่าจะมีปัญหารั่วหรืออย่างไดอย่างหนึ่ง อากาศจึงเข้ามาได้ สาเหตุอาจมีดังนี้

 

  • ท่อแตกจากการถูกกระแทก — การแก้ไขคือเปลี่ยนใหม่
  • ท่อแตกจากดินทรุดตัว — การแก้ไขคือเปลี่ยนใหม่ และบริเวณที่ท่อออกจากอาคารมาวางบนพื้นต้องมี Flex ด้วยครับ •ท่อรั่ว — อันนี้อาจจะหารอยรั่วยากหน่อย หรือถ้าต้องการเปลี่ยนจากถังใต้ดินเป็นถังบนดินอยู่แล้ว
  • จะทำให้หารอยรั่วได้ง่ายขึ้น และถ้าจำเป็นหารอยรั่วไม่เจออาจจะต้องตัดทิ้งแล้วทำใหม่ครับ
  • ไม่มี Foot Valve — ในกรณีที่เป็นบ่อใต้ดิน ควรจะมี Foot Valve ด้วยกันน้ำที่ค้างในท่อทางดูดไหลทิ้ง ทำให้มีอากาศเข้ามาในท่อทางดูดครับ

ระบบน้ำดีภายในบ้าน ต้องมีถังพักน้ำก่อนเข้าปั๊มหรือเปล่า

ในการต่อประปาเข้าบ้าน เราอาจจะต่อตรงจากประปาภายนอกเข้าท่อเมนของบ้านได้เลย ไม่ต้องใช้ทั้งปั๊มน้ำและถังพักน้ำ ถ้าแรงดันน้ำที่มาเพียงพอต่อการใช้งานแล้ว อย่างไรก็ตามการใช้ปั๊มเข้ามาช่วยจะทำให้เราได้แรงดันน้ำสม่ำเสมอแน่นอน (แรงดันในท่อประปาสาธารณะบางครั้งลดลงในขณะที่มีการใช้งานมาก) อีกทั้งถังพักยังทำหน้าที่ในการสำรองน้ำในกรณีที่มีการงดจ่ายน้ำ หรือมีปัญหาในระบบน้ำประปา

ถ้าจะต้องใช้ปั๊มน้ำแล้วก็ต้องมีบ่อพักครับ เนื่องจากการสูบน้ำจากระบบประปาสาธารณะโดยตรงจะทำให้เกิดแรงดูด (แรงดันน้อยกว่าแรงดันบรรยากาศ) ในท่อทางเข้าปั๊ม และทำให้แรงดันภายในระบบท่อประปาลดลง ในบางขณะที่มีการใช้น้ำพร้อมๆกันมากแรงดันในท่อประปาต่ำลงมาก อาจจะทำผู้ใช้น้ำแบบต่อตรงมีน้ำไหลอ่อนหรือไม่ไหลได้ อีกทั้งแรงดูดในท่อยังสามารถดูดน้ำใต้ดินรอบๆท่อ (ถ้าท่อมีรอยรั่ว) เข้ามาอีกด้วยครับ (ปรกติในท่อประปาจะมีแรงดันน้ำอยู่ ถ้ามีจุดรั่ว ร้าว ภายในท่อ แรงดันจะดันน้ำดีออก น้ำใต้ดินเข้ามาไม่ได้) สรุปว่าถ้าจะติดปั๊ม ต้องให้ปั๊มดูดน้ำจากบ่อพัก ไม่ควรต่อตรงครับ

ถังพักน้ำก่อนเข้าปั๊มบนดินกับใต้ดิน

เราก็ทราบแล้วว่าถ้าใช้ปั๊ม ก็ต้องมีถังพักน้ำ ซึ่งปัจจุบันมีให้เลือกใช้หลายแบบ ในที่นี้ผมขอแบ่งตามระดับการติดตั้งคือ ถังวางบนดินกับฝังใต้ดิน ขอตอบเลยว่าใช้เป็นถังบนดินจะดีกว่าครับ ถังใต้ดินนั้นมีข้อดีประการเดียวคือการประหยัดที่ เนื้อที่เหนือถังสามารถนำมาใช้งานอื่นๆหรืออย่างน้อยก็ไม่เกะกะสายตา ส่วนข้อเสียได้แก่

 

  • ถ้าทิ้งให้ถังแห้งในหน้าฝนหรือแม้แต่หน้าแล้งซึ่งระดับน้ำใต้ดินอยู่สูง ถังไฟเบอร์กลาสซึ่งมีน้ำหนักเบาจะถูกน้ำใต้ดินยกลอยขึ้นมาได้ การติดตั้งถังประเภทนี้ต้องมีการถ่วงน้ำหนักหรือมีเข็มสมอยึดกันถังลอย แต่หลายที่ก็ไม่มีครับ
  • สำหรับถังคอนกรีต หรือก่ออิฐ มักจะมีแตกร้าวหรือรั่วซึม ซึ่งถ้าอยู่ใต้ดินเราอาจจะไม่รู้ เมื่อรู้แล้วก็ตรวจสอบยากกว่าถังบนดิน แม้ว่าถังคอนกรีตใต้ดินจะมีข้อดีที่สามารถใช้พื้นที่ด้านบนฝาถังได้ แต่การรั่วนั้นพบบ่อยมาก ถ้าไม่จำเป็นไม่ควรใช้ครับ
  • การที่ระดับน้ำอยู่ต่ำ ประสิทธิภาพการทำงานของปั๊มจะได้น้อยลง กินไฟมากขึ้น
  • การระวังปากบ่อมิให้มีสิ่งสกปรกเข้าไป ปากบ่อจะต้องมีการก่อกันน้ำและมีฝามิดชิด

จากเหตุผลหลายๆข้อดังกล่าว ถังวางบนดินดูจะน่าใช้กว่ามากครับ ยกเว้นไม่มีที่จริงๆ ถังบนดินก็มีหลายประเภท เช่น ถังคอนกรีต หรือพวกถังสำเร็จรูปอย่างถังแสตนเลส ไฟเบอร์กลาส สำหรับบ้านทั่วไปน่าจะใช้เป็นถังสำเร็จรูปสะดวกกว่ากันมากครับ ยกเว้นโครงการใหญ่ๆอาจจะต้องใช้เป็นถังคอนกรีตซึ่งปัญหาการรั่วซึมมาก ต้องอาศัยคุณภาพงานก่อสร้างที่ดีครับ

ต้องใช้ถังเก็บน้ำบนดาดฟ้าหรือเปล่า

ขึ้นอยู่กับว่าเราใช้กับปั๊มน้ำแบบไหนครับ คือการใช้น้ำภายในบ้าน เราไม่ได้มีความต้องการอยู่ตลอดเวลา หากเราต่อปั๊มน้ำโดยตรงเข้าระบบท่อประปา ในขณะที่ไม่มีการใช้น้ำจะเกิดแรงดันภายในตัวปั๊มสูงมาก ปั๊มอาจจะเสียหายได้ ครั้นจะมีอุปกรณ์ไฟฟ้าคอยตัดต่อเมื่อมีการใช้น้ำ ปั๊มก็ยังจะทำงานติดๆดับๆอยู่บ่อยๆซึ่งจะทำให้ปั๊มเสียเร็ว ระบบที่มาแก้ปัญหานี้ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบันหลักๆมีอยู่สองวิธีคือ

 

  • ปั๊มน้ำที่มีถังแรงดันที่ขายเป็นชุด คือปั๊มจะปั๊มน้ำเข้าไปเก็บในหม้อแรงดัน เมื่อมีการใช้น้ำออกไป แรงดันภายในหม้อแรงดันจะลดลงจนถึงจุดหนึ่งปั๊มก็จะเริ่มทำงานใหม่ ทำให้ปั๊มไม่ต้องตัดต่อบ่อยเกินไป ปั๊มแบบนี้ใช้กันแพร่หลายมากที่สุด เนื่องจากสะดวก ไม่ต้องมีถังเก็บน้ำด้านบนอีกที แต่สำหรับอาคารขนาดใหญ่หรือมีปริมาณการใช้น้ำมากจะไม่เหมาะ เพราะต้นทุนของหม้อแรงดันจะสูงกว่าถังเก็บน้ำแน่นอน
  • ติดตั้งปั๊มน้ำด้านล่าง ปั๊มขึ้นไปเก็บบนถังเก็บน้ำด้านบน ซึ่งในถังจะมีชุดลูกลอยคอยตัดต่อเมื่อระดับน้ำลดต่ำลง ทำให้ปั๊มไม่ต้องทำงานบ่อยๆ ระบบนี้ไม่เหมาะสำหรับบ้านทั่วๆไปเนื่องจากความยุ่งยากที่ต้องมีถังน้ำด้านบน แต่เหมาะกับอาคารที่มีการใช้น้ำมากๆ เนื่องจากมีช่วงปริมาณน้ำระหว่างการตัดต่อปั๊มแต่ละครั้งมาก (ขึ้นอยู่กับขนาดของถัง และระดับตัดต่อของลูกลอย) หากคิดจะติดตั้งระบบปั๊มชนิดนี้ ควรออกแบบโครงสร้างรองรับน้ำหนักของถังน้ำไว้ด้วยครับ

สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้านสำหรับบ้านทั่วๆไปน่าจะใช้แบบถังแรงดันเพื่อความสะดวกครับ

ท่อน้ำใต้บ้านรั่ว ทุบพื้นได้ไหม

ปัญหาที่เจอได้เสมออีกประการหนึ่งคือ เมื่อเจ้าของบ้านทราบว่ามีน้ำรั่วอยู่ภายในบ้านแล้วลองไล่หาจุดรั่วดูไม่พบ จุดที่น่าสงสัยว่าจะรั่วหรือมีปัญหาได้คือท่อประปาในส่วนที่เดินใต้พื้นบ้าน เนื่องจากการวางท่อประปาใต้พื้นบ้านเมื่อเวลาผ่านไปดินเกิดการทรุดตัว ท่อประปาที่วางบนดินต้องทิ้งตัวตามลงมา แต่จุดที่ต่อเข้ากันโครงสร้างไม่ทรุดตัวตาม มากๆเข้าท่ออาจจะหักอยู่ได้ดินได้อีกทั้งในขณะเทคอนกรีตพื้น(กรณีที่ชั้นล่างเป็นพื้นเทหล่อในที่) ถ้าไม่ฝังลึกเพียงพอ คนงานอาจจะเหยียบร้าวอยู่โดยที่เราไม่รู้ได้

ดังนั้นเมื่อคุณสร้างบ้านใหม่สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้านจึงไม่ควรวางท่อประปาใต้บ้านอันอาจจะทำให้มีปัญหาตามมาภายหลัง และดูแลตรวจซ่อมได้ยาก ควรจะหาทางวางรอบตัวแล้วทาสีให้กลมกลืนกับตัวบ้านดีกว่า จริงๆแล้วจะวางท่อประปาใต้บ้านได้โดยใช้ Hanger กันสนิมก็ได้ เป็นเทคนิคที่ใช้กันในงานโครงการที่มีผู้ควบคุมงานดูแล สำหรับการนำมาใช้ในวงกว้างอาจจะยุ่งยากไปนิดหนึ่งครับ ส่วนกรณีที่ทำไปแล้วมีปัญหาภายหลัง ไม่ต้องทุบพื้นทิ้ง แต่ใช้วิธีตัดท่อที่อยู่ใต้บ้านทิ้งไปเลย แล้วเดินท่อใหม่ ง่ายกว่ากันมาก

อย่าลืมท่ออากาศ

ลองนึกถึงตอนที่คุณเปิดกระป๋องนมตราหมีนะครับ ถ้าเจาะรูเดียวจะเทนมออกมาไม่ค่อยได้ ต้องเจาะสองรู ออกกับเข้า สำหรับถังส้วมก็เช่นเดียวกัน แต่ในทิศทางตรงกันข้าม คือเมื่อมีการกดชักโครกระบายน้ำลงไป ก็ต้องมีท่ออากาศของถังเกรอะให้อากาศสามารถไหลออกได้ ท่ออากาศที่บ่อเกรอะจึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ไม่เช่นนั้นแล้วจะทำให้ชักโครกกดไม่ค่อยลงครับ

การต่อท่ออากาศจากบ่อเกรอะต้องต่อจากฝาบ่อด้านบนสุดและ ปลายท่อไม่ลงไปลึกเกินกว่าฝาบ่อ เพราะในบางครั้งระดับน้ำในบ่ออาจจะขึ้นสูง หากจุดต่อท่ออากาศอยู่ต่ำจะระบายอากาศไม่ได้ครับ

 

สาระน่ารู้เกี่ยวกับสร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน เรื่องของน้ำ ห้องน้ำ สร้างบ้าน รับสร้างบ้าน บริษัทรับสร้างบ้าน

ที่มา : http://se-net/stonebase


ติดต่อเรา

ที่อยู่ : 2/2 ถนนสุวินทวงศ์ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 10510

E-Mail : info@homemax.co.th

โทร : 02-918-6500

Fax : 02-906-4263

Facebook : homemaxthailand

admin admin

error: Content is protected !!